สรณัฐ ไตลังคะ (หัวหน้าโครงการวิจัย). การศึกษาอัตลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรม
เพื่อการพัฒนาศักยภาพชุมชน จังหวัดกาญจนบุรี. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ พ.ศ.2557 (กำลังดำเนินการ)
สรณัฐ ไตลังคะ. อหังการแห่งสามัญชน: สุนทรียศาสตร์และอุดมการณ์ชนชั้นกลางในนวนิยาย ความไม่พยาบาทของ ‘นายสำราญ’. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2556 (กำลังดำเนินการ)
สรณัฐ ไตลังคะ และคณะ (ธงรบ รื่นบรรเทิง กุลภา กุลดิลก และนัทธนัย ประสานนาม). แผนงานวิจัย ภาพแทนประเทศไทยผ่านวรรณกรรมการท่องเที่ยวภาษาอังกฤษ. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2554
สรณัฐ ไตลังคะ.วาทกรรมว่าด้วยชนบทในบันเทิงคดีไทย พ.ศ.2475-2510. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554
เสาวณิต วิงวอน และคณะ (วรรณา นาวิกมูล สรณัฐ ไตลังคะ วัชราภรณ์ อาจหาญ และพรรณทิภา ชื่นชาติ). 2554. จารึกวัดพระเชตุพน: ภูมิปัญญาไทยกับการจัดการความรู้ในสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. โครงการเกษตรเพื่อยุทธศาสตร์การพัฒนา ปีงบประมาณ 2553.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2553. เพศวิถีและอารมณ์ปรารถนาในนวนิยายเรื่อง เราลิขิต และ แผ่นดินของเรา. ทุนสนับสนุนการวิจัยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรณัฐ ไตลังคะ 2552. บทละครเวทีสมัยใหม่ของไทยทศวรรษ 2510: นาฏกรรมแห่งความขุ่นข้อง. ทุนสนับสนุนการวิจัย ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เสาวณิต วิงวอน และคณะ (วรรณา นาวิกมูล กุลวดี มกราภิรมย์ และสรณัฐ ไตลังคะ). 2549. คุณค่าของ “ทำเนียบนักเขียน” และ “รายชื่อวรรณคดีสยาม” ของพระสารสาสน์พลขันธ์ที่มีต่อการศึกษาวรรณคดีไทย.ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2549.
วรรณา นาวิมูล และคณะ (เสาวณิต วิงวอน กุลวดี มกราภิรมย์ อิราวดี ไตลังคะ และวัชราภรณ์ อาจหาญ). 2547. ชื่อบ้านนามเมืองจังหวัดตรัง. ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีรัฐร่วมเอกชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2546-2547.